5 - 10 of 196 Articles
ในเดือน ก.ย. 64 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลก ปิดที่ 1,272 ล้านเหรียญ เพิ่มขึ้น 14.8% YoY ยอดสั่งซื้อจากไทย สูงสุดอันดับ 1 อาเซียน และอันดับ 5 เอเชีย
วิกฤตซัพพลายเชนโลกยังแรงไม่หยุด ผู้ผลิตเครื่องจักรญี่ปุ่นขาดแคลนทั้งชิปและชิ้นส่วนสำคัญ ขณะที่ต้นทุนโลจิสติกส์ยังสูง จนหลายแบรนด์เครื่องจักรปรับขึ้นราคาราว 3%
ในเดือน ส.ค. 64 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลก ปิดที่ 1,130 ล้านเหรียญ เพิ่มขึ้น 85.2% YoY ขณะที่ ยอดสั่งซื้อจากไทยสูงเป็นอันดับ 1 ของอาเซียน และติดอันดับ 4 ของเอเชีย
สมาคมเครื่องจักรกลญี่ปุ่น ปรับตัวเลขคาดการณ์ยอดสั่งซื้อปี 2021 จะปิดที่ 13,240 ล้านเหรียญ เพิ่มขึ้น 60.8% สะท้อนการลงทุนที่ฟื้นตัว โดยเฉพาะอุตฯ แม่พิมพ์ทำสถิติเดือน ส.ค.สูงสุดรอบ 5 ปี
ในเดือน ก.ค. 64 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลก ปิดที่ 1,230 ล้านเหรียญ โต 93.4% YoY ผู้ผลิตเครื่องจักรเริ่มประสบปัญหาขาดแคลนหลายชิ้นส่วน คาดกระทบยาว
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี Additive Manufacturing (AM) ไม่จำกัดเพียงแค่การผลิตชิ้นงานจากพลาสติกเรซิ่น แต่รวมไปถึงชิ้นงานโลหะที่ซับซ้อนออกมาได้ดี
ในเดือน มิ.ย. 64 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลก ปิดที่ 1,203 ล้านเหรียญ โต 96.6% ขณะที่ไทยสั่งซื้อ 15.3 ล้านเหรียญติดอันดับ 1 อาเซียนต่อเนื่องเดือนที่สอง
ในเดือน พ.ค. 64 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลก ปิดที่ 1,121 ล้านเหรียญ โต 141.9% ขณะที่ไทยสั่งซื้อ 16.8 ล้านเหรียญติดอันดับ 1 อาเซียน
คาดการณ์ปี 2021 อุตสาหกรรมเครื่องจักรกลฟื้นตัวดีและมั่นคงกว่าที่คิด ความต้องการทั่วโลกจะเพิ่มขึ้น 15% และจะเพิ่มขึ้นอีก 7.5% ในปีถัดไป
ผู้ผลิตเครื่องจักรกลเยอรมันกว่าครึ่งกำลังเผชิญปัญหาใหญ่จากการขาดแคลนชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เหล็กและโลหะ อาจส่งผลให้การฟื้นตัวของอุตสาหกรรมเครื่องจักรกลต้องล่าช้าออกไป
แม้ว่าการลงทุนในหลายอุตสาหกรรมแทบจะหยุดชะงักลงในการระบาดของโควิด-19 อย่างไรก็ตาม 5G และการลดคาร์บอน เป็นสองกุญแจสำคัญผลักดันการลงทุนปีนี้
ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกในเดือนเมษายน 2021 ปิดที่ 1,140 ล้านเหรียญ โตต่อเนื่องเดือนที่ 6 ส่งออกฟื้นทำยอดใกล้เคียงปี 2018 ก่อนเกิดสงครามการค้า
ผู้ผลิตเครื่องจักรกลได้เร่งปรับตัวนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ร่วมกับเครื่องจักรกล จึงเป็นสิ่งที่น่าจับตามองอย่างยิ่งว่าแต่ละแบรนด์จะตีโจทย์วางกลยุทธ์ผลิตภัณฑ์อย่างไร
เป้าหมายลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ให้เป็นศูนย์ภายในปี 2050 ทำให้ผู้ผลิตเครื่องจักรกลต้องเร่งหาแนวทางเพื่อให้สามารถลดก๊าซคาร์บอนตลอดกระบวนการบรรลุผล
ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลของ 7 แบรนด์ใหญ่ค่ายญี่ปุ่นในปีงบประมาณ 2020 ปิดที่ 2,524 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เผยแนวโน้มฟื้นตัวในไตรมาสที่ผ่านมา
ดอกซากุระบานสะพรั่ง ณ สำนักงานใหญ่ Okamoto Machine Tool Works เมือง Annaka จังหวัด Gunma คลิปนี้ถ่ายด้วยโดรนเมื่อวันที่ 3 เมษายน 2564
ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกในเดือนมีนาคม 2021 ปิดที่ 1,180 ล้านเหรียญ เพิ่มจากปีก่อน 65.0% ผลจาก จีน อเมริกา ยุโรป และอินเดีย
ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกในเดือนกุมภาพันธ์ 2021 ปิดที่ 966 ล้านเหรียญ ทำสถิติสูงสุดในรอบ 19 เดือน
ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกในเดือนมกราคม 2021 ปิดที่ 837 ล้านเหรียญ เพิ่มจากปีก่อนเล็กน้อย แต่เอเชียยอดซื้อรวมพุ่ง 82.5% ขณะที่ไทยซื้อเครื่องจักรเพิ่มขึ้น 3.5%
ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลของ 7 แบรนด์ใหญ่ค่ายญี่ปุ่นในปี 2020 ปิดที่ 2,425 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ลดลงจากปี 2019 ถึง 31.1%